mba
mba2
mba3
435484767_921877953281381_1029875850094590837_n
previous arrow
next arrow
แนะนำหลักสูตรข้อมูลหลักสูตรแนวทางประกอบอาชีพบุคลากรประจำหลักสูตรNews

ปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ

 

ชื่อปริญญา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การบริหารธุรกิจ)
Master of Business Administration
บธ.ม. (การบริหารธุรกิจ)
M.B.A. (Business Administration)

 

ปรัชญา
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ  “มุ่งมั่นผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้  มีความสามารถ มีทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัล สามารถนำไปใช้ในการบริหารธุรกิจได้อย่างเหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21”

 

Facebook หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)


ข้อมูลหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)

โครงสร้างหลักสูตรและแผนการศึกษา
1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งการศึกษาเป็น 2 แผน คือ

1) แผน ก (2) ทำวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 3 หน่วยกิต
- วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
2) แผน ข การค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 9 หน่วยกิต
- ค้นคว้าอิสระ 6 หน่วยกิต

การเรียนวิชาเสริมพื้นฐาน

  1. ผู้ที่ไม่ได้จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัญชีหรือเศรษฐศาสตร์ และผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ทางการบริหารธุรกิจจะต้องเรียนวิชาเสริมพื้นฐาน วิชาพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ
  2. นิสิตทุกคนต้องเรียนวิชาปรับพื้นฐาน ในรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา เพื่อปรับระดับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่จำเป็นสำหรับการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ทั้งนี้วิชาเสริมพื้นฐานทุกวิชา ไม่มีการนับหน่วยกิต

การศึกษาดูงาน

จัดให้มีการศึกษาดูงานในประเทศ และ/หรือต่างประเทศ อย่างน้อย 1 ครั้ง

3. แผนการศึกษา
แผน ก แบบ ก (2)
ปีที่ 1  ภาคการศึกษาที่ 1 (12 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-221

การจัดการนวัตกรรมทางการตลาดในยุคดิจิทัล

3 (3-0-6)

911-223

ระเบียบวิธีวิจัยประยุกต์ทางธุรกิจ

3 (3-0-6)

911-225

เศรษฐศาสตร์ประยุกต์

3 (3-0-6)

911-227

การจัดการทรัพยากรมนุษย์และองค์การในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล

3 (3-0-6)

* 911-103

พื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ

3 (3-0-6)

ปีที่ 1  ภาคการศึกษาที่ 2 (12 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-222

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสมัยใหม่

3 (3-0-6)

911-224

การบัญชีและการเงินสำหรับผู้บริหาร

3 (3-0-6)

911-226

การผลิตและการดำเนินงานเชิงคุณค่า

3 (3-0-6)

911-407

วิทยานิพนธ์ 1

3 (135)

* 911-104

ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา

3 (3-0-6)

ปีที่ 2  ภาคการศึกษาที่ 1 (9 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-220

การจัดการเชิงกลยุทธ์ในศตวรรษที่ 21

3 (3-0-6)

911-xxx

วิชาเอกเลือก

3 (3-0-6)

911-408

วิทยานิพนธ์ 2

3 (135)

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 (6 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-409

วิทยานิพนธ์ 3

6 (270)

หมายเหตุ *
1. รายวิชาไม่นับหน่วยกิตในการสำเร็จการศึกษา
2. สำหรับผู้ที่ไม่มีพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจต้องเรียนในรายวิชาพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ
3. นิสิตทุกคนต้องเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา


แผน ข
ปีที่ 1  ภาคการศึกษาที่ 1 (12 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-221

การจัดการนวัตกรรมทางการตลาดในยุคดิจิทัล

3 (3-0-6)

911-223

ระเบียบวิธีวิจัยประยุกต์ทางธุรกิจ

3 (3-0-6)

911-225

เศรษฐศาสตร์ประยุกต์

3 (3-0-6)

911-227

การจัดการทรัพยากรมนุษย์และองค์การในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล

3 (3-0-6)

* 911-103

พื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ

3 (3-0-6)

ปีที่ 1  ภาคการศึกษาที่ 2 (12 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-222

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสมัยใหม่

3 (3-0-6)

911-224

การบัญชีและการเงินสำหรับผู้บริหาร

3 (3-0-6)

911-226

การผลิตและการดำเนินงานเชิงคุณค่า

3 (3-0-6)

911-xxx

วิชาเอกเลือก (1)

3 (3-0-6)

* 911-104

ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา

3 (3-0-6)

ปีที่ 2  ภาคการศึกษาที่ 1 (9 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-220

การจัดการเชิงกลยุทธ์ในศตวรรษที่ 21

3 (3-0-6)

911-xxx

วิชาเอกเลือก (2)

3 (3-0-6)

911-xxx

วิชาเอกเลือก (3)

3 (3-0-6)

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 (6 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

การสอบประมวลความรู้

911-406

การค้นคว้าอิสระ

6 (270)

หมายเหตุ *
1. รายวิชาไม่นับหน่วยกิตในการสำเร็จการศึกษา
2. สำหรับผู้ที่ไม่มีพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจต้องเรียนในรายวิชาพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ
3. นิสิตทุกคนต้องเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา

แนวทางประกอบอาชีพ

1. ผู้บริหารองค์กรภาคธุรกิจและภาครัฐ
2. ผู้ประกอบการธุรกิจ นักวิชาการ ครู อาจารย์ด้านบริหารธุรกิจ
3.ผู้ประกอบอาชีพอิสระที่ต้องการทักษะทางด้านการบริหารธุรกิจโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
4. อาชีพอื่น ๆ ที่ต้องการทักษะด้านการบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีเพื่อการจัดการ

ชื่อ – สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาภรณีน์ อินฟ้าแสง
ตำแหน่ง : คณบดี คณะบริหารธุรกิจ / ผู้อำนวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษาสูงสุด : บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด. (บริหารธุรกิจ)
ความเชี่ยวชาญวิชาที่สอน : Principle of Management, Leadership

ชื่อ – สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล สัมพัทธ์พงศ์
ตำแหน่ง : รองคณบดี คณะบริหารธุรกิจ
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษาสูงสุด : บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด. (การตลาด)
ความเชี่ยวชาญวิชาที่สอน : การจัดการนวัตกรรมทางการตลาดในยุคดิจิทัล
การสร้างสรรค์การสื่อสารการตลาดยุคดิจิทัล
การวิเคราะห์คุณค่าและพฤติกรรมผู้บริโภคในเศรษฐกิจดิจิทัล

ชื่อ – สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนาท บุณยะชัย
ตำแหน่ง : อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษาสูงสุด : Doctor of Business Administration
ความเชี่ยวชาญวิชาที่สอน : Principle of Management, Leadership,
International Business Administration, Entrepreneurship

ชื่อ – สกุล : ดร.ฉัตยาพร เสมอใจ
ตำแหน่ง : อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์
วุฒิการศึกษาสูงสุด :
ความเชี่ยวชาญวิชาที่สอน : –

MBA