mba
mba2
mba3
435484767_921877953281381_1029875850094590837_n
previous arrow
next arrow
แนะนำหลักสูตรข้อมูลหลักสูตรแนวทางประกอบอาชีพบุคลากรประจำหลักสูตรNews

ปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ

 

ชื่อปริญญา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การบริหารธุรกิจ)
Master of Business Administration
บธ.ม. (การบริหารธุรกิจ)
M.B.A. (Business Administration)

 

ปรัชญา
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ  “มุ่งมั่นผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้  มีความสามารถ มีทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัล สามารถนำไปใช้ในการบริหารธุรกิจได้อย่างเหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21”

 

Facebook หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)


ข้อมูลหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)

โครงสร้างหลักสูตรและแผนการศึกษา
1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งการศึกษาเป็น 2 แผน คือ

1) แผน ก (2) ทำวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 3 หน่วยกิต
- วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
2) แผน ข การค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 9 หน่วยกิต
- ค้นคว้าอิสระ 6 หน่วยกิต

การเรียนวิชาเสริมพื้นฐาน

  1. ผู้ที่ไม่ได้จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัญชีหรือเศรษฐศาสตร์ และผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ทางการบริหารธุรกิจจะต้องเรียนวิชาเสริมพื้นฐาน วิชาพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ
  2. นิสิตทุกคนต้องเรียนวิชาปรับพื้นฐาน ในรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา เพื่อปรับระดับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่จำเป็นสำหรับการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ทั้งนี้วิชาเสริมพื้นฐานทุกวิชา ไม่มีการนับหน่วยกิต

การศึกษาดูงาน

จัดให้มีการศึกษาดูงานในประเทศ และ/หรือต่างประเทศ อย่างน้อย 1 ครั้ง

3. แผนการศึกษา
แผน ก แบบ ก (2)
ปีที่ 1  ภาคการศึกษาที่ 1 (12 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-221

การจัดการนวัตกรรมทางการตลาดในยุคดิจิทัล

3 (3-0-6)

911-223

ระเบียบวิธีวิจัยประยุกต์ทางธุรกิจ

3 (3-0-6)

911-225

เศรษฐศาสตร์ประยุกต์

3 (3-0-6)

911-227

การจัดการทรัพยากรมนุษย์และองค์การในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล

3 (3-0-6)

* 911-103

พื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ

3 (3-0-6)

ปีที่ 1  ภาคการศึกษาที่ 2 (12 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-222

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสมัยใหม่

3 (3-0-6)

911-224

การบัญชีและการเงินสำหรับผู้บริหาร

3 (3-0-6)

911-226

การผลิตและการดำเนินงานเชิงคุณค่า

3 (3-0-6)

911-407

วิทยานิพนธ์ 1

3 (135)

* 911-104

ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา

3 (3-0-6)

ปีที่ 2  ภาคการศึกษาที่ 1 (9 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-220

การจัดการเชิงกลยุทธ์ในศตวรรษที่ 21

3 (3-0-6)

911-xxx

วิชาเอกเลือก

3 (3-0-6)

911-408

วิทยานิพนธ์ 2

3 (135)

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 (6 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-409

วิทยานิพนธ์ 3

6 (270)

หมายเหตุ *
1. รายวิชาไม่นับหน่วยกิตในการสำเร็จการศึกษา
2. สำหรับผู้ที่ไม่มีพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจต้องเรียนในรายวิชาพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ
3. นิสิตทุกคนต้องเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา


แผน ข
ปีที่ 1  ภาคการศึกษาที่ 1 (12 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-221

การจัดการนวัตกรรมทางการตลาดในยุคดิจิทัล

3 (3-0-6)

911-223

ระเบียบวิธีวิจัยประยุกต์ทางธุรกิจ

3 (3-0-6)

911-225

เศรษฐศาสตร์ประยุกต์

3 (3-0-6)

911-227

การจัดการทรัพยากรมนุษย์และองค์การในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล

3 (3-0-6)

* 911-103

พื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ

3 (3-0-6)

ปีที่ 1  ภาคการศึกษาที่ 2 (12 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-222

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสมัยใหม่

3 (3-0-6)

911-224

การบัญชีและการเงินสำหรับผู้บริหาร

3 (3-0-6)

911-226

การผลิตและการดำเนินงานเชิงคุณค่า

3 (3-0-6)

911-xxx

วิชาเอกเลือก (1)

3 (3-0-6)

* 911-104

ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา

3 (3-0-6)

ปีที่ 2  ภาคการศึกษาที่ 1 (9 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

911-220

การจัดการเชิงกลยุทธ์ในศตวรรษที่ 21

3 (3-0-6)

911-xxx

วิชาเอกเลือก (2)

3 (3-0-6)

911-xxx

วิชาเอกเลือก (3)

3 (3-0-6)

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 (6 หน่วยกิต)

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต
(ท – ป – อ)

การสอบประมวลความรู้

911-406

การค้นคว้าอิสระ

6 (270)

หมายเหตุ *
1. รายวิชาไม่นับหน่วยกิตในการสำเร็จการศึกษา
2. สำหรับผู้ที่ไม่มีพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจต้องเรียนในรายวิชาพื้นฐานด้านบริหารธุรกิจ
3. นิสิตทุกคนต้องเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา

แนวทางประกอบอาชีพ

1. ผู้บริหารองค์กรภาคธุรกิจและภาครัฐ
2. ผู้ประกอบการธุรกิจ นักวิชาการ ครู อาจารย์ด้านบริหารธุรกิจ
3.ผู้ประกอบอาชีพอิสระที่ต้องการทักษะทางด้านการบริหารธุรกิจโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
4. อาชีพอื่น ๆ ที่ต้องการทักษะด้านการบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีเพื่อการจัดการ

ชื่อ – สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาภรณีน์ อินฟ้าแสง
ตำแหน่ง : คณบดี คณะบริหารธุรกิจ / ผู้อำนวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษาสูงสุด : บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด. (บริหารธุรกิจ)
ความเชี่ยวชาญวิชาที่สอน : Principle of Management, Leadership

ชื่อ – สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล สัมพัทธ์พงศ์
ตำแหน่ง : รองคณบดี คณะบริหารธุรกิจ
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษาสูงสุด : บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด. (การตลาด)
ความเชี่ยวชาญวิชาที่สอน : การจัดการนวัตกรรมทางการตลาดในยุคดิจิทัล
การสร้างสรรค์การสื่อสารการตลาดยุคดิจิทัล
การวิเคราะห์คุณค่าและพฤติกรรมผู้บริโภคในเศรษฐกิจดิจิทัล

ชื่อ – สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนาท บุณยะชัย
ตำแหน่ง : อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษาสูงสุด : Doctor of Business Administration
ความเชี่ยวชาญวิชาที่สอน : Principle of Management, Leadership,
International Business Administration, Entrepreneurship

ชื่อ – สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตยาพร เสมอใจ
ตำแหน่ง : อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษาสูงสุด : บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต
ความเชี่ยวชาญวิชาที่สอน : Applied Research Methodology for Business, Strategic Management in 21st Century, Marketing Innovation Management in Digital Era, Service Marketing, Consumer Value and Behavior Analysis in Digital Economy, Seminar in Business Administration in Digital Era, Seminar in Marketing Management

MBA